เผยอาหารเสริมที่ช่วยภูมิคุ้มกัน สำหรับผู้สูงอายุและเพิ่มการป้องกันโควิด-19

สุขภาพ อาหาร รายการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การรับประทานอาหารเป็นสิ่งที่เรียกว่า ไม่ควรมองข้ามเป็นอันเด็ดขาดเพราะนี่คือ อีกหนึ่งส่วนที่ค่อนข้างมีความน่าสนใจ อีกหนึ่งส่วนผสมผสานกับจุดในทางเลือกกับตัวเลือกในจุดที่ต้องมีการปรับเปลี่ยน และรวมไปถึงองค์ประกอบโดยรวม ในส่วนที่ค่อนข้างมีความยอดเยี่ยมและความน่าจะเป็นไม่น้อย 

กรมอนามัยได้ออกมาชี้แนะนำอาหาร สำหรับผู้สูงอายุที่รับประทานแล้ว จะช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในร่างกายจากโควิด-19 ได้อีกด้วย และยังคงเป็นอีกหนึ่งช่วงเวลา ที่มีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง และผู้ที่สูงอายุจึงเป็นกลุ่มเสี่ยงอย่างสูงที่สุดที่จะติดเชื้อ เนื่องจากภูมิคุ้มกันที่ลดลงและรวมไปถึง ตามวัยหากติดเชื้อมีโอกาสที่จะเสียชีวิตมากกว่าบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะเลยก็ว่าได้ยิ่งไปกว่านั้น คือผู้ที่มีโรคประจำตัวไม่ว่าจะเป็นทั้ง ความดันโลหิตโรคเบาหวานโรคปอดโรคมะเร็ง จึงต้องดูแลสุขภาพของตนเองให้แข็งแรงอยู่อย่างสม่ำเสมอ และการกินอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับการกินผัก และผลไม้จึงเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่มีความจำเป็น และการออกกำลังกายพักผ่อนให้เพียงพอ ก็เป็นอะไรที่ค่อนข้างน่าสนใจไม่น้อย 

เผยอาหารเสริมที่ช่วยภูมิคุ้มกัน2

แนะนำอาหารเสริมภูมิคุ้มกันสำหรับผู้สูงอายุ

1.อาหารที่มีความอ่อนนุ่ม

สำหรับอาหารที่มีความอ่อนนุ่มนั้น สามารถตอบโจทย์ สำหรับผู้สูงอายุได้ไม่ว่าจะเป็นทางการนำผักเนื้อสัตว์ หรือรวมไปถึงถั่วเมล็ดแห้งหั่นเป็นชิ้นๆ ที่มีขนาดเล็ก ๆ และต้องทำการตุ๋นให้เปื่อย ด้วยเช่นเดียวกัน เพื่อความสะดวกสบายต่อการเคี้ยว และการรับประทานได้ในปริมาณที่เพิ่มมากยิ่งขึ้น

 

2.แบ่งมื้ออาหารออกเป็นหลายมื้อ

การแบ่งมื้ออาหารเพิ่มออกเป็นลายมือ ก็สามารถช่วยได้ไม่ว่าจะเป็นทางการจัดอาหารว่าง ระหว่างวันและจะช่วยให้ผู้สูงอายุได้รับอาหาร อย่างเพียงพอและมากพอต่อความต้องการในการจัดการนั่นเอง

 

3.รสชาติของอาหารที่ไม่ต้องรสจัดมาก

การจัดอาหารที่ไม่ลดจัดมากๆ หรือรวมไปถึงอาจจะใช้เครื่องเทศสมุนไพร เพิ่มกลิ่นและรสชาติที่จะช่วยกระตุ้นความอยากอาหารได้ เป็นอย่างดีอีกด้วย

 

4.เน้นอาหารปรุงสุก

อาหารที่มีความสดใหม่ และปรุงสุกอยู่สม่ำเสมอหรือ อุ่นอาหารให้ร้อนก่อนเสมอนั้น จึงเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สามารถทำให้อาหารน่ากินมากที่สุด รสชาติดีกว่าเดิมกับอาหารที่ยอดเยี่ยมดีกว่าอาหารที่เย็นชื่อ

 

5.นมจืด

การรับประทานนมจืดวันละ 1-2 แก้วหากผู้สูงอายุที่ดื่มนม ไม่ได้อาจจัดการด้วยการใช้โยเกิร์ต ที่เป็นรสชาติธรรมชาติหรือเต้าหู้ หรือ น้ำนมถั่วเหลือง ที่ช่วยเสริมสร้างแคลเซียมได้ และรวมไปถึงการเพิ่มอาหารให้เป็นแหล่งแคลเซียมอื่นๆไม่ว่าจะเป็น ทั้งปลาที่มีขนาดเล็กหรือรวมไปถึงผักใบเขียวเข้มเป็นต้น

เผยอาหารเสริมที่ช่วยภูมิคุ้มกัน3

สำหรับผู้ป่วยติดเตียง

ในส่วนของผู้ป่วยติดเตียง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่เป็นเกี่ยวกับโรคประสาท อัมพฤกษ์ อัมพาต อัลไซเมอร์ หรือรวมไปถึงพาร์กินสัน อาจจะพบกับปัญหาในการกลืนอาหารลำบาก ที่จะทำให้สำนักได้ง่ายและอาการไอขณะกินอาหาร อาจจะทำให้อาหารลงไปในหลอดลม และมีโอกาสในการติดเชื้อในปอดบวมได้ จึงควรที่จะจัดการด้วยกันพยุงท่านั่งและท่านอนให้ศีรษะสูง โดยผู้ดูแลควรปรับองศาของเตียงอยู่ที่ 40 ถึง 90 องศาก่อนที่จะรับประทานอาหารจะเป็นอะไรที่ดีไม่น้อย