สุขภาพและการดูแลร่างกายตนเองนั้น เป็นสิ่งที่มีความจำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคสมัยปี 2021 แบบนี้กับการทำงานแบบ work from home หรือการทำงานอยู่ในในบ้านนั้นมักจะพบเจอและประสบปัญหา กับการเกิดโรค “ออฟฟิศซินโดรม” ซึ่งเป็นปัญหาที่ตามมาแบบไม่หยุดหย่อน และรบกวนการทำงาน ของคุณอย่างแน่นอนอีกด้วย
ดังนั้นวันนี้ เราจะมาแนะนำแนวทางของการปรับเปลี่ยนร่างกาย ในระหว่างการนั่งทำงานหรือในช่วงของการทำงานอยู่ที่บ้าน เป็นเวลานานเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสี่ยง ต่อการเป็นออฟฟิศซินโดรมได้มากยิ่งขึ้นกับการเปรียบเทียบ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กับวิธีดังต่อไปนี้ที่มีความเหมาะสม เป็นอย่างมากในขณะการทำงานที่ดี สำหรับคุณ
การทำงานแบบ work from home มีความเสี่ยงต่อ การเป็นออฟฟิศซินโดรมมากขึ้น
จากการวิจัยที่ออกมาบอกผ่านทาง นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย ได้ออกมาเปิดเผยข้อมูลที่น่าสนใจ เอาไว้ด้วยเช่นเดียวกันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง จากนโยบายในการทำงานที่บ้าน ที่เพื่อขอความร่วมมือให้คนไทยอยู่ในบ้าน และลดการเดินทางหรืออยู่ในพื้นที่สุ่มเสี่ยง กับความคับคั่งของคนเก่าต่อการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในขณะเดียวกันนั้น
ซึ่งวัยทำงานก็มีความจำเป็นอย่างมาก กับการปรับเปลี่ยนรูปแบบและสถานที่การทำงาน ในทั้งอุปกรณ์สำนักงานในบ้าน อาจจะไม่มีประสิทธิภาพที่เพียงพอและเหมาะสม ต่อสรีระของคุณหรือไม่ถึงลักษณะการทำงานที่ไม่ถูกต้องอย่างการนอนทำงานอยู่ บนเตียงหรือรวมไปถึงการนั่งบนโต๊ะที่ไม่ได้มาตรฐาน ก็อาจจะก่อให้เกิดโรคออฟฟิศซินโดรมตามมาได้
สัญญาณอันตรายที่เตือนต่อการเกิดออฟฟิศซินโดรม
- มีอาการปวดหลังเรื้อรัง จากการนั่งอยู่หน้าจอคอมพิวเตอร์อย่างน้อย 8 ชั่วโมงต่อวันโดยเฉพาะอย่างยิ่งการนั่งหลังค่อม หรือทำให้กล้ามเนื้อคอปวดเมื่อยและเกร็งอยู่ตลอดเวลา
- สมองได้รับออกซิเจนแบบไม่เต็มที่ จะส่งผลให้ศักยภาพในการทำงานลดน้อยลง
- มีอาการปวดศีรษะ หรือมีความเครียดสะสมที่ อาจจะเกิดจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ความร้อนรวมไปถึงการขาดฮอร์โมนบางชนิด
- เกิดอาการมือชานิ้วล็อค และเกิดอาการอักเสบจากปลอกหุ้มเอ็นข้อมือเนื้อ ซึ่งอาจจะก่อให้เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ หรือการจับเมาส์ ท่าเดิมๆเป็นเวลานาน
แนวทางการปรับเปลี่ยนร่างกายของตนเอง เพื่อป้องกันออฟฟิศซินโดรม
สำหรับแนวทางของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และร่างกายของตนเองกับ การป้องกันออฟฟิศซินโดรม มีดังต่อไปนี้
1.คนที่จะปรับความสูงของเก้าอี้ และโต๊ะให้เหมาะสมกับตนเอง และให้เกิดการนั่งที่สบายขึ้น
2.หากใช้คอมพิวเตอร์ ที่มาในลักษณะของกระดิ่งกลางของจออยู่ ในระดับสายตาในลักษณะของการพิมพ์งานควร ที่จะอยู่ในระดับของข้อศอกหรือข้อมือแทนใช้เมาส์ ในการพักศอกหรือแขนศอกร้องศอกที่สามารถเคลื่อนไหวได้ ไม่จำกัดพื้นที่
3.ในระหว่างการทำงานนั้น ควรนั่งหลังตรงชิดขอบด้านในกับเก้าอี้ และกระพริบตาบ่อยและควรพักสายตาอยู่เป็นประจำทุกๆ 10 นาทีและเปลี่ยนท่านั่งทุกๆ 20 นาทีหรือรวมไปถึงเหยียดกล้ามเนื้อมือแขนขาทุก 1 ชั่วโมงจะช่วยได้